1. แปลงผลิตควรอยู่ห่างจากแหล่งก่อเกิดมลพิษมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่มาจากทางดินน้ำอากาศจากแปลงข้างเคียงหรือแหล่งมลพิษเช่นทำคันกั้นกว้างไม่ต่ำกว่า 1 เมตรหรือปลูกพืชเป็นแนวกันชนการเบียงทางน้ำไหล
2. รักษาสภาพธรรมชาติของพื้นที่เดิมเช่นการรักษาพืชธรรมชาติหรือพืชท้องถิ่นเป็นแนวรั้วรักษาระบบนิเวศและความหลากหลายทางธรรมชาติหรือรักษาสภาพหนองน้ำธรรมชาติไม่ขุดหรือทำลายหน้าดินเป็นต้น
3. ปลูกพืชผสมผสานและหมุนเวียนแปลงผลิตใช้ปัจจัยการผลิตภายในฟาร์มให้มากที่สุดรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและหมุนเวียนธาตุอาหาร
4. ผสมผสานการเลี้ยงสัตว์กับการปลูกพืชเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์เกื้อกูลกันใช้เศษพืชวัชพืชเป็นอาหารสัตว์หรือปลูกพืชเป็นอาหารสัตว์และหมักมูลสัตว์เป็นปุ๋ยบำรุงดิน
5. ปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยคอกและสารกำจัดศัตรูพืชธรรมชาติและอาหารสัตว์ที่มาจากภายนอกกลุ่มจะต้องมีการรับรองและได้รับอนุญาตจากกลุ่มแล้วปุ๋ยคอกต้องผ่านการหมักจนสมบูรณ์
6. ห้ามใช้สารเคมีเช่นปุ๋ยเคมีสารเคมีกำจัดโรคแมลงและวัชพืชยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ฮอร์โมนสังเคราะห์
7. ทยอยปรับเปลี่ยนพื้นที่สู่เกษตรอินทรีย์ได้ แต่ต้องปลูกพืชที่แตกต่างกันทั้งชนิดและพันธุ์ทั้งพืชและสัตว์ผลผลิตไม่ปะปนกันระยะปรับเปลี่ยนขั้นต่ำ 12 เดือน
8. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ที่ใช้ระบบการผลิตแบบเคมีจะต้องทำความสะอาดก่อนนำมาใช้ในระบบการผลิตแบบอินทรีย์และห้ามใช้เครื่องมือปะปนกันเช่นนำถังฉีดสารเคมีไปใช้บรรจุสารสมุนไพรฉีดพ่นในแปลงอินทรีย์
9. เมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ต้องมาจากการผลิตแบบอินทรีย์กรณีไม่มีใช้เมล็ดพันธุ์ทั่วไปไม่คลุกสารเคมีหรือล้างก่อนนำไปปลูกห้ามใช้เมล็ดพันธุ์ GMO และการฉายรังสี
10. ภาชนะที่บรรจุผลผลิตที่เก็บเกี่ยวจะต้องสะอาดไม่ใช้ภาชนะที่บรรจุผลผลิตปนกับผลผลิตแบบเคมีห้ามใช้กระสอบปุ๋ยเคมีในแปลงผลิตแบบอินทรีย์
11. ห้ามเผาฟางหรือตอซังยกเว้นการทำเฉพาะจุดเพื่อทำลายศัตรูพืชศัตรูสัตว์เท่านั้น
12. การนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้องมีส่วนประกอบจากการผลิตแบบอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 70% และต้องคำนึงถึงสุขอนามัยสะอาดปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้บริโภค
13. ผู้ผลิตต้องผ่านการตรวจสอบความเข้าใจต่อมาตรฐานเกษตรอินทรีย์พีจีปฏิบัติตามข้อกำหนดการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ฉบับนี้อย่างเคร่งครัดจดบันทึกการผลิตและผ่านการตรวจประเมินแปลงผลิตเอส
1. แปลงผลิตควรอยู่ห่างจากแหล่งก่อเกิดมลพิษมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่มาจากทางดินน้ำอากาศจากแปลงข้างเคียงหรือแหล่งมลพิษเช่นทำคันกั้นกว้างไม่ต่ำกว่า 1 เมตรหรือปลูกพืชเป็นแนวกันชนการเบียงทางน้ำไหล
2. รักษาสภาพธรรมชาติของพื้นที่เดิมเช่นการรักษาพืชธรรมชาติหรือพืชท้องถิ่นเป็นแนวรั้วรักษาระบบนิเวศและความหลากหลายทางธรรมชาติหรือรักษาสภาพหนองน้ำธรรมชาติไม่ขุดหรือทำลายหน้าดินเป็นต้น
3. ปลูกพืชผสมผสานและหมุนเวียนแปลงผลิตใช้ปัจจัยการผลิตภายในฟาร์มให้มากที่สุดรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและหมุนเวียนธาตุอาหาร
4. ผสมผสานการเลี้ยงสัตว์กับการปลูกพืชเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์เกื้อกูลกันใช้เศษพืชวัชพืชเป็นอาหารสัตว์หรือปลูกพืชเป็นอาหารสัตว์และหมักมูลสัตว์เป็นปุ๋ยบำรุงดิน
5. ปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยคอกและสารกำจัดศัตรูพืชธรรมชาติและอาหารสัตว์ที่มาจากภายนอกกลุ่มจะต้องมีการรับรองและได้รับอนุญาตจากกลุ่มแล้วปุ๋ยคอกต้องผ่านการหมักจนสมบูรณ์
6. ห้ามใช้สารเคมีเช่นปุ๋ยเคมีสารเคมีกำจัดโรคแมลงและวัชพืชยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ฮอร์โมนสังเคราะห์
7. ทยอยปรับเปลี่ยนพื้นที่สู่เกษตรอินทรีย์ได้ แต่ต้องปลูกพืชที่แตกต่างกันทั้งชนิดและพันธุ์ทั้งพืชและสัตว์ผลผลิตไม่ปะปนกันระยะปรับเปลี่ยนขั้นต่ำ 12 เดือน
8. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ที่ใช้ระบบการผลิตแบบเคมีจะต้องทำความสะอาดก่อนนำมาใช้ในระบบการผลิตแบบอินทรีย์และห้ามใช้เครื่องมือปะปนกันเช่นนำถังฉีดสารเคมีไปใช้บรรจุสารสมุนไพรฉีดพ่นในแปลงอินทรีย์
9. เมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ต้องมาจากการผลิตแบบอินทรีย์กรณีไม่มีใช้เมล็ดพันธุ์ทั่วไปไม่คลุกสารเคมีหรือล้างก่อนนำไปปลูกห้ามใช้เมล็ดพันธุ์ GMO และการฉายรังสี
10. ภาชนะที่บรรจุผลผลิตที่เก็บเกี่ยวจะต้องสะอาดไม่ใช้ภาชนะที่บรรจุผลผลิตปนกับผลผลิตแบบเคมีห้ามใช้กระสอบปุ๋ยเคมีในแปลงผลิตแบบอินทรีย์
11. ห้ามเผาฟางหรือตอซังยกเว้นการทำเฉพาะจุดเพื่อทำลายศัตรูพืชศัตรูสัตว์เท่านั้น
12. การนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้องมีส่วนประกอบจากการผลิตแบบอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 70% และต้องคำนึงถึงสุขอนามัยสะอาดปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้บริโภค
13. ผู้ผลิตต้องผ่านการตรวจสอบความเข้าใจต่อมาตรฐานเกษตรอินทรีย์พีจีปฏิบัติตามข้อกำหนดการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ฉบับนี้อย่างเคร่งครัดจดบันทึกการผลิตและผ่านการตรวจประเมินแปลงผลิตเอส
1. แปลงผลิตควรอยู่ห่างจากแหล่งก่อเกิดมลพิษมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่มาจากทางดินน้ำอากาศจากแปลงข้างเคียงหรือแหล่งมลพิษเช่นทำคันกั้นกว้างไม่ต่ำกว่า 1 เมตรหรือปลูกพืชเป็นแนวกันชนการเบียงทางน้ำไหล
2. รักษาสภาพธรรมชาติของพื้นที่เดิมเช่นการรักษาพืชธรรมชาติหรือพืชท้องถิ่นเป็นแนวรั้วรักษาระบบนิเวศและความหลากหลายทางธรรมชาติหรือรักษาสภาพหนองน้ำธรรมชาติไม่ขุดหรือทำลายหน้าดินเป็นต้น
3. ปลูกพืชผสมผสานและหมุนเวียนแปลงผลิตใช้ปัจจัยการผลิตภายในฟาร์มให้มากที่สุดรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและหมุนเวียนธาตุอาหาร
4. ผสมผสานการเลี้ยงสัตว์กับการปลูกพืชเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์เกื้อกูลกันใช้เศษพืชวัชพืชเป็นอาหารสัตว์หรือปลูกพืชเป็นอาหารสัตว์และหมักมูลสัตว์เป็นปุ๋ยบำรุงดิน
5. ปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยคอกและสารกำจัดศัตรูพืชธรรมชาติและอาหารสัตว์ที่มาจากภายนอกกลุ่มจะต้องมีการรับรองและได้รับอนุญาตจากกลุ่มแล้วปุ๋ยคอกต้องผ่านการหมักจนสมบูรณ์
6. ห้ามใช้สารเคมีเช่นปุ๋ยเคมีสารเคมีกำจัดโรคแมลงและวัชพืชยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ฮอร์โมนสังเคราะห์
7. ทยอยปรับเปลี่ยนพื้นที่สู่เกษตรอินทรีย์ได้ แต่ต้องปลูกพืชที่แตกต่างกันทั้งชนิดและพันธุ์ทั้งพืชและสัตว์ผลผลิตไม่ปะปนกันระยะปรับเปลี่ยนขั้นต่ำ 12 เดือน
8. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ที่ใช้ระบบการผลิตแบบเคมีจะต้องทำความสะอาดก่อนนำมาใช้ในระบบการผลิตแบบอินทรีย์และห้ามใช้เครื่องมือปะปนกันเช่นนำถังฉีดสารเคมีไปใช้บรรจุสารสมุนไพรฉีดพ่นในแปลงอินทรีย์
9. เมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ต้องมาจากการผลิตแบบอินทรีย์กรณีไม่มีใช้เมล็ดพันธุ์ทั่วไปไม่คลุกสารเคมีหรือล้างก่อนนำไปปลูกห้ามใช้เมล็ดพันธุ์ GMO และการฉายรังสี
10. ภาชนะที่บรรจุผลผลิตที่เก็บเกี่ยวจะต้องสะอาดไม่ใช้ภาชนะที่บรรจุผลผลิตปนกับผลผลิตแบบเคมีห้ามใช้กระสอบปุ๋ยเคมีในแปลงผลิตแบบอินทรีย์
11. ห้ามเผาฟางหรือตอซังยกเว้นการทำเฉพาะจุดเพื่อทำลายศัตรูพืชศัตรูสัตว์เท่านั้น
12. การนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้องมีส่วนประกอบจากการผลิตแบบอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 70% และต้องคำนึงถึงสุขอนามัยสะอาดปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้บริโภค
13. ผู้ผลิตต้องผ่านการตรวจสอบความเข้าใจต่อมาตรฐานเกษตรอินทรีย์พีจีปฏิบัติตามข้อกำหนดการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ฉบับนี้อย่างเคร่งครัดจดบันทึกการผลิตและผ่านการตรวจประเมินแปลงผลิตเอส
1. แปลงผลิตควรอยู่ห่างจากแหล่งก่อเกิดมลพิษมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่มาจากทางดินน้ำอากาศจากแปลงข้างเคียงหรือแหล่งมลพิษเช่นทำคันกั้นกว้างไม่ต่ำกว่า 1 เมตรหรือปลูกพืชเป็นแนวกันชนการเบียงทางน้ำไหล
2. รักษาสภาพธรรมชาติของพื้นที่เดิมเช่นการรักษาพืชธรรมชาติหรือพืชท้องถิ่นเป็นแนวรั้วรักษาระบบนิเวศและความหลากหลายทางธรรมชาติหรือรักษาสภาพหนองน้ำธรรมชาติไม่ขุดหรือทำลายหน้าดินเป็นต้น
3. ปลูกพืชผสมผสานและหมุนเวียนแปลงผลิตใช้ปัจจัยการผลิตภายในฟาร์มให้มากที่สุดรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและหมุนเวียนธาตุอาหาร
4. ผสมผสานการเลี้ยงสัตว์กับการปลูกพืชเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์เกื้อกูลกันใช้เศษพืชวัชพืชเป็นอาหารสัตว์หรือปลูกพืชเป็นอาหารสัตว์และหมักมูลสัตว์เป็นปุ๋ยบำรุงดิน
5. ปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยคอกและสารกำจัดศัตรูพืชธรรมชาติและอาหารสัตว์ที่มาจากภายนอกกลุ่มจะต้องมีการรับรองและได้รับอนุญาตจากกลุ่มแล้วปุ๋ยคอกต้องผ่านการหมักจนสมบูรณ์
6. ห้ามใช้สารเคมีเช่นปุ๋ยเคมีสารเคมีกำจัดโรคแมลงและวัชพืชยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ฮอร์โมนสังเคราะห์
7. ทยอยปรับเปลี่ยนพื้นที่สู่เกษตรอินทรีย์ได้ แต่ต้องปลูกพืชที่แตกต่างกันทั้งชนิดและพันธุ์ทั้งพืชและสัตว์ผลผลิตไม่ปะปนกันระยะปรับเปลี่ยนขั้นต่ำ 12 เดือน
8. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ที่ใช้ระบบการผลิตแบบเคมีจะต้องทำความสะอาดก่อนนำมาใช้ในระบบการผลิตแบบอินทรีย์และห้ามใช้เครื่องมือปะปนกันเช่นนำถังฉีดสารเคมีไปใช้บรรจุสารสมุนไพรฉีดพ่นในแปลงอินทรีย์
9. เมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ต้องมาจากการผลิตแบบอินทรีย์กรณีไม่มีใช้เมล็ดพันธุ์ทั่วไปไม่คลุกสารเคมีหรือล้างก่อนนำไปปลูกห้ามใช้เมล็ดพันธุ์ GMO และการฉายรังสี
10. ภาชนะที่บรรจุผลผลิตที่เก็บเกี่ยวจะต้องสะอาดไม่ใช้ภาชนะที่บรรจุผลผลิตปนกับผลผลิตแบบเคมีห้ามใช้กระสอบปุ๋ยเคมีในแปลงผลิตแบบอินทรีย์
11. ห้ามเผาฟางหรือตอซังยกเว้นการทำเฉพาะจุดเพื่อทำลายศัตรูพืชศัตรูสัตว์เท่านั้น
12. การนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้องมีส่วนประกอบจากการผลิตแบบอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 70% และต้องคำนึงถึงสุขอนามัยสะอาดปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้บริโภค
13. ผู้ผลิตต้องผ่านการตรวจสอบความเข้าใจต่อมาตรฐานเกษตรอินทรีย์พีจีปฏิบัติตามข้อกำหนดการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ฉบับนี้อย่างเคร่งครัดจดบันทึกการผลิตและผ่านการตรวจประเมินแปลงผลิตเอส
1. แปลงผลิตควรอยู่ห่างจากแหล่งก่อเกิดมลพิษมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนที่มาจากทางดินน้ำอากาศจากแปลงข้างเคียงหรือแหล่งมลพิษเช่นทำคันกั้นกว้างไม่ต่ำกว่า 1 เมตรหรือปลูกพืชเป็นแนวกันชนการเบียงทางน้ำไหล
2. รักษาสภาพธรรมชาติของพื้นที่เดิมเช่นการรักษาพืชธรรมชาติหรือพืชท้องถิ่นเป็นแนวรั้วรักษาระบบนิเวศและความหลากหลายทางธรรมชาติหรือรักษาสภาพหนองน้ำธรรมชาติไม่ขุดหรือทำลายหน้าดินเป็นต้น
3. ปลูกพืชผสมผสานและหมุนเวียนแปลงผลิตใช้ปัจจัยการผลิตภายในฟาร์มให้มากที่สุดรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและหมุนเวียนธาตุอาหาร
4. ผสมผสานการเลี้ยงสัตว์กับการปลูกพืชเพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์เกื้อกูลกันใช้เศษพืชวัชพืชเป็นอาหารสัตว์หรือปลูกพืชเป็นอาหารสัตว์และหมักมูลสัตว์เป็นปุ๋ยบำรุงดิน
5. ปุ๋ยอินทรีย์ปุ๋ยคอกและสารกำจัดศัตรูพืชธรรมชาติและอาหารสัตว์ที่มาจากภายนอกกลุ่มจะต้องมีการรับรองและได้รับอนุญาตจากกลุ่มแล้วปุ๋ยคอกต้องผ่านการหมักจนสมบูรณ์
6. ห้ามใช้สารเคมีเช่นปุ๋ยเคมีสารเคมีกำจัดโรคแมลงและวัชพืชยาแผนปัจจุบันสำหรับสัตว์ฮอร์โมนสังเคราะห์
7. ทยอยปรับเปลี่ยนพื้นที่สู่เกษตรอินทรีย์ได้ แต่ต้องปลูกพืชที่แตกต่างกันทั้งชนิดและพันธุ์ทั้งพืชและสัตว์ผลผลิตไม่ปะปนกันระยะปรับเปลี่ยนขั้นต่ำ 12 เดือน
8. เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ที่ใช้ระบบการผลิตแบบเคมีจะต้องทำความสะอาดก่อนนำมาใช้ในระบบการผลิตแบบอินทรีย์และห้ามใช้เครื่องมือปะปนกันเช่นนำถังฉีดสารเคมีไปใช้บรรจุสารสมุนไพรฉีดพ่นในแปลงอินทรีย์
9. เมล็ดพันธุ์หรือส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ต้องมาจากการผลิตแบบอินทรีย์กรณีไม่มีใช้เมล็ดพันธุ์ทั่วไปไม่คลุกสารเคมีหรือล้างก่อนนำไปปลูกห้ามใช้เมล็ดพันธุ์ GMO และการฉายรังสี
10. ภาชนะที่บรรจุผลผลิตที่เก็บเกี่ยวจะต้องสะอาดไม่ใช้ภาชนะที่บรรจุผลผลิตปนกับผลผลิตแบบเคมีห้ามใช้กระสอบปุ๋ยเคมีในแปลงผลิตแบบอินทรีย์
11. ห้ามเผาฟางหรือตอซังยกเว้นการทำเฉพาะจุดเพื่อทำลายศัตรูพืชศัตรูสัตว์เท่านั้น
12. การนำผลผลิตเกษตรอินทรีย์มาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต้องมีส่วนประกอบจากการผลิตแบบอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 70% และต้องคำนึงถึงสุขอนามัยสะอาดปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้บริโภค
13. ผู้ผลิตต้องผ่านการตรวจสอบความเข้าใจต่อมาตรฐานเกษตรอินทรีย์พีจีปฏิบัติตามข้อกำหนดการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ฉบับนี้อย่างเคร่งครัดจดบันทึกการผลิตและผ่านการตรวจประเมินแปลงผลิตเอส